ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
- ธาตุอะลูมิเนียม
อะลูมิเนียมพบมาในเปลือกโลกประมาณ 7.5% โดยมวล รูปของสารประกอบ เช่น บอกไซต์


สารประกอบออกไซด์ของอะลูมิเนียมคือ





คอรันดัม หรือ กะรุน สูตรเคมีคือ

อะลูมิเนียมเป็นโลหะที่มีประโยชน์มากในทางอุตสาหกรรม ใช้ทำอุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องครัว ของใช้ในบ้านห่ออาหาร และห่อของใช้ ทำโลหะเจือหลายชนิดที่นำไปเป็นส่วนประกอบของเครื่องบิน เรือ รถไฟ และรถยนต์
- ธาตุแคลเซียม



ประโยชน์ของสารประกอบแคลเซียมในรูป



(9).jpg)
รูป 3.9 หินงอก หินย้อย
(9).jpg)
รูป 3.10 แร่ยิปซัม

- ธาตุทองแดง


![[Cu_2 CO_2 (OH)_2] [Cu_2 CO_2 (OH)_2]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/50b/747/384/5e3/cd2/040/ad2/f58/384/82b/82b/801/61c/d2c/99e/302/cb2/094/094f45f287a3a41c33e391d17a9807b6.png)

ประโยชน์ของทองแดง ใช้ทำสายไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า โลหะผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี ซึ่งเรียกว่าทองเหลือง ใช้ทำกลอนประตู กุญแจ ใบพัดเรือ ปลอกกระสุนปืน กระดุม โลหะผสมของทองแดงกับดีบุก ซึ่งเรียกว่าทองบรอนซ์ ใช้ทำลานนาฬิกา ระฆัง ปืนใหญ่
สารประกอบเชิงซ้อนของทองแดงเป็นองค์ประกอบในเลือดปู ปลาหมึก หอยโข่ง แมงป่อง และทำให้เลือดเป็นสีน้ำเงิน ร่างกายของคนต้องการทองแดงเพื่อใช้ในกระบวนการทางชีวเคมี ถ้าขาดจะทำให้เกิดความบกพร่องในการสังเคราะห์ไขมันบางชนิด และทำให้เกิดโรคโลหิตจาง
(9).jpg)
รูป 3.11 แร่ที่มีทองแดงเป็นองค์ประกอบ
- ธาตุโครเมียม

สารประกอบของโครเมียมที่อยู่ในรูปโครเมียมออไซด์ชนิดต่างๆ เช่น โครเมียม (III) ออกไซด์ CrO โครเมียม (II) ออกไซด์ (CrO) โครเมียมเกิดสารประกอบเชิงซ้อนได้หลายชนิดและมีสีต่างๆ กัน เช่น



ประโยชน์ของโครเมียมใช้เคลือบผิวเหล็กหรือโลหะอื่นๆ โดยการชุบด้วยไฟฟ้า เพื่อป้องกันการผุกร่อนและมีผิวเป็นเงางาม เป็นส่วนผสมในเหล็กกล้าไร้สนิม ซึ่งมีสมบัติทนต่อการผุกร่อนและทนสารเคมีชนิดต่างๆ ได้ดี เป็นส่วนประกอบในเหล็กกล้าผสมที่ใช้ทำตู้นิรภัย เครื่องยนต์เกราะกันกระสุน เป็นโลหะเจือโคบอลต์ใช้ทำกระดูกเทียมเพราะมีความแข็งแรงและมีปฏิกิริยาต่อร่างกายน้อย
(7).jpg)
รูป 3.12 แร่โครไมต์

(8).jpg)
รูป 3.13 โครเมียมใช้เคลือบผิวรถยนต์เพื่อป้องกันการผุกร่อนและมีสีผิวเป็นเงางาม
- ธาตุเหล็ก








ประโยชน์ของเหล็ก เหล็กกล้าเป็นโลหะเจือของเหล็กกับคาร์บอนในปริมาณต่างๆ กัน บางชนิดอาจเติมโลหะอื่นเพิ่มลงไปเพื่อปรับปรุงคุณภาพเรียกว่า เหล็กกล้าเจือโลหะใช้ในงานก่อสร้าง ผลิตเครื่องยนต์ ทำตัวถังรถยนต์ ทำลวด ตะปู เหล็กเคลือบผิวด้วยสังกะสีใช้มุงหลังคา เหล็กเคลือบผิวด้วยดีบุกใช้ทำกระป๋องบรรจุอาหาร เหล็กกล้าที่ผสมนิกเกิล 3% โครเมียม 1% ใช้ทำส่วนประกอบของเครื่องจักรประเภทเฟือง เกียร์ เพลา ข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์ เหล็กกล้าไร้สนิมที่มีโครเมียม 18 % นิกเกิล 8% และคาร์บอน 0.4% ใช้ทำมีด ช้อนส้อม เรือนนาฬิกา นอกจากนี้เหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของเม็ดเลือดแดง ถ้าร่างกายได้รับเหล็กไม่เพียงพอจะทำให้เป็นโรคโลหิตจาง
(7).jpg)
รูป 3.14 แร่ที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ
- ธาตุไอโอดีน
ประโยชน์ของไอโอดีน ไอโอดีนละลายในเอทานอลเรียกว่าทิงเจอร์ไอโอดีน ใช้ทาแผลฆ่าเชื้อโรค ไอโอไดด์ไอออนเป็นส่วนประกอบของฮอร์โมนไทรอกซินในต่อมไทรอยด์ ซึ่งควบคุมกระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกายถ้าขาดไอโอดีนจะทำให้เป็นโรคคอพอก สารประกอบของไอโอดีน เช่น โซเดียมไอโอไดด์ โพแทสเซียมไอโอไดด์ ใช้ผสมในเกลือสินเธาว์ เป็นการเพิ่มไอโอไดด์ไอออนให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสมต่อการใช้บริโภค
(5).jpg)
รูป 3.15 เกล็ดไอโอดีน
- ธาตุไนโตรเจน





ประโยชน์ของไนโตรเจน ใช้ในอุตสาหกรรมทำแอมโมเนียและกรดไนตริก แอมโมเนียใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตโซดาแอช แอมโมเนียมซัลเฟตและยูเรียเพื่อทำปุ๋ยส่วนกรดในตริกใช้ในอุตสาหกรรมทำสี ไหมเทียม วัตถุระเบิด พลุสี และในการบวนการพิมพ์ผ้า ไนโตรเจนที่อยู่ในรูปของกรดอะมิโนและโปรตีนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ พืชส่วนใหญ่สังเคราะห์โปรตีนโดยใช้ไนเตรดไอออนจากดินและสำหรับพืชตระกูลถั่วสามารถเปลี่ยนไนโตรเจนจากอากาศเป็นสารอาหารได้
การหมุนเวียนของไนโตรเจนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ศึกษาได้จากรูป 3.16
(5).jpg)
รูป 3.16 การหมุนเวียนของไนโตรเจนในระบบนิเวศ
จากรูป 3.16 อธิบายได้ว่าไนโตรเจนในอากาศจะถูกตรึงด้วยกระบวนการต่างๆ ได้แก่ กระบวนการทางอุตสาหกรรมการผลิตปุ๋ย กระบวนการทางธรรมชาติจากการเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า จากสิ่งมีชีวิต เช่น สาหร่ายและจุลินทรีย์ในดิน เช่น แบคทีเรียไรโซเบียมในปมรากถั่วไนโตรเจนในกระบวนการดังกล่าวจะถูกแบคทีเรียบางชนิดที่อยู่ในดินเปลี่ยนเป็นสารประกอบของไนโตรเจนที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้คือ สารประกอบไนไตรต์






- ธาตุออกซิเจน
พบในเปลือกโลกในปริมาณมากที่สุดประมาณ 49.5% โดยมวล พบในธรรมชาติทั้งในสภาพอิสระและในรูปสารประกอบออกซิเจนในอากาศมีประมาณ 21% โดย ปริมาตร และเป็นองค์ประกอบในสารอาหารจำนวนมาก เช่น น้ำตาล แป้ง และไขมัน ในทางอุตสาหกรรมจะผลิตออกซิเจนจากอากาศเหลว โดยการกลั่นลำดับส่วนที่อุณหภูมิห้อง ออกซิเจนเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีสมบัติช่วยให้ไฟติด ช่วยในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช ออกซิเจนเกิดสารประกอบกับธาตุต่างๆ ทั้งโลหะและอโลหะได้อย่างดี เช่น สารประกอบออกไซด์สามารถเกิดกับธาตุโดยทั่วไป สารประกอบเปอร์ออกไซด์เกิดกับโลหะหมู่ IA และ IIA เช่น









โอโซน (Ozone) เป็นแก๊สพิษไม่มีสี มีกลิ่นรุนแรงเฉพาะตัวมีจุดเดือด-112.4

-249.7 

- ธาตุฟอสฟอรัส
พบอยู่ในรูปของสารประกอบ ส่วนใหญ่เป็นแร่หินฟอสเฟต เช่น แคลเซียมฟอสแฟต
![[Ca_3(PO_4)_2] [Ca_3(PO_4)_2]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/510/384/8b3/568/acb/ec9/0e7/368/067/f33/ec2/c23/196/1d7/1d7/eb3/eb32760ca464bddc0666ec88b975a686.png)
![[Ca_5 F(PO_4)_3] [Ca_5 F(PO_4)_3]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/510/384/8b3/568/acb/ec9/0e7/368/067/f33/ec2/c23/196/1d7/1d7/eb3/2a3/2a38fcb05f6700bdb183accc9b8aeb9c.png)

ฟอสฟอรัสขาว มีสูตรโมเลกุลเป็น






ฟอสฟอรัสแดง เป็นรูปที่เสถียรกว่าฟอสฟอรัสขาวเป็นผงสีแดงเข้ม ไม่ละลายใน


ฟอสฟอรัสดำ มีโครงสร้างและสมบัติคล้ายแกรไฟต์เป็นของแข็งสีเทาเข้ม เป็นแผ่นมีเงาโลหะ นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ ดังรูป 3.17 ค.
ประโยชน์ของฟอสฟอรัส เป็นธาตุที่จำเป็นแก่พืชในรูปของปุ๋ยฟอสเฟตและปุ๋ยซูเปอร์ฟอสเฟต ซึ่งเป็นของผสมระหว่าง


(6).jpg)
รูป 3.17 โครงสร้างของฟอสฟอรัส
- ธาตุซิลิคอน


(5).jpg)
รูป 3.18 โครงสร้างของ

ประโยชน์ของซิลิคอนใช้ในอุตสาหกรรมทำแก้วเส้นใยแก้วและเส้นใยนำแสง ซิลิคอนเป็นสารกึ่งตัวนำใช้ทำวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก และใช้ทำอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ไมโครคอมพิวเตอร์ วิทยุ โทรทัศน์ เซลล์สุริยะ ซิลิคอนคาร์ไบด์ (SiC) มีความแข็งแรงมาก ใช้ทำเครื่องบด เครื่องโม่ ซิลิโคนเป็นพอลิเมอร์ของซิลิคอน มีสมบัติไม่รวมตัวกับน้ำไม่นำไฟฟ้า ทนความร้อน และไม่ว่องไวในการทำปฏิกิริยาเคมี ใช้เป็นฉนวนไฟฟ้าและเคลือบผิววัสดุ เพื่อป้องกันมิให้เกิดปฏิกิริยาเคมี นอกจากนี้ซิลิกาใช้ทำส่วนประกอบของนาฬิกาควอตซ์
(5).jpg)
รูป 3.19 ผลึกควอตซ์หรือเขี้ยวหนุมาน
- ธาตุสังกะสี
![[Zn_4 (Si_2 O_7 )(OH)_2 H_2 O] [Zn_4 (Si_2 O_7 )(OH)_2 H_2 O]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/510/384/8b3/568/acb/ec9/0e7/368/067/f33/ec2/c23/196/1d7/1d7/eb3/2a3/1d7/d94/1d7/303/383/f75/bfc/d9d/d94/323/f1f/edd/837/837/217/217c0542add8f67d1262aa1bdb902dc2.png)

![[Zn(OH)_2 \cdot ZnCO_3 ] [Zn(OH)_2 \cdot ZnCO_3 ]](http://www.vcharkarn.com/latexrender/pictures1/510/384/8b3/568/acb/ec9/0e7/368/067/f33/ec2/c23/196/1d7/1d7/eb3/2a3/1d7/d94/1d7/303/383/f75/bfc/d9d/d94/323/f1f/edd/837/837/217/fdb/013/013fa050c578d46f35c44d5df404d542.png)
ประโยชน์ของสังกะสี เช่น ใช้เป็นสารเร่งปฏิกิริยาในการผลิตยางรถยนต์ ใช้ในอุตสหกรรมเซรามิกส์ ใช้เป็นส่วนผสมยาต่างบาดแผลหรือแผลไฟไหม้ ใช้ทำเหล็กอาบสังกะสีที่เรียกว่า Galvanized iron เพื่อป้องกันมิให้เหล็กเป็นสนิมหรือสึกกร่อนได้ เนื่องจากสังกะสีเกิดออกไซด์และเบสิกคาร์บอเนตปกคลุมผิวหน้าไว้อีกชั้นหนึ่งจึงนิยมใช้ทำท่อน้ำ แผ่นสังกะสีมุงหลังคาและถังบรรจุน้ำ แผ่นสังกะสีบริสุทธิ์ใช้ทำกล่องถ่านไฟฉายและทำหน้าที่เป็นขั้วไฟฟ้าสังกะสีเป็นองค์ประกอบของเอนไซม์บางชนิดในร่างกายที่ช่วยย่อย และสังเคราะห์โปรตีน ถ้าขาดจะทำให้ผิวหยาบกร้าน เป็นโรคเหน็บชา ตับแข็ง ม้ามโต และเจริญเติบโตช้า
- ธาตุเรเดียม
จากการศึกษาเรื่องธาตุและตารางธาตุ สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมบัติต่างๆ ของธาตุในบทนี้ไปใช้ในการศึกษาเรื่องอื่นๆ ของวิชาเคมีในบทต่อไปได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น